หน้าหลัก     ปัญหาสุขภาพ     สาระน่ารู้

อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)

อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity) 


     เครื่องวัดความเค็ม (Salinity meter) คือ การวัดความเข้มข้นของเกลือที่ละลายในน้ำ ความเค็มวัดทางอ้อมโดยการทดสอบค่าการนำไฟฟ้า (EC) ของน้ำ น้ำเค็มมีพลังงานไฟฟ้ามากกว่าน้ำโดยไม่มีเกลือละลาย ความเค็มหมายถึงความเข้มข้นของเกลือที่ละลายในดินหรือน้ำ น้ำตามธรรมชาติทั้งหมดมีเกลือที่ละลายอยู่ เช่น โซเดียมแมกนีเซียมและแคลเซียม โซเดียม


    สำหรับบุคคลอายุ 9-50 ปี ระดับโซเดียม (AI) ที่เพียงพอคือ 1.5 กรัมต่อปริมาณโซเดียมที่ต้องการเป็นข้อความทั่วไป มีหลายตัวอย่างที่ต้องการปริมาณโซเดียมที่สูงขึ้น ตัวอย่างเช่นนักกีฬาที่มีเหงื่อออกมากจะสูญเสียโซเดียมในปริมาณที่สูงขึ้นเมื่อพวกเขาเหงื่อออกเมื่อเทียบกับคนที่มีวิถีชีวิตแบบอยู่ประจำ คณะกรรมการอาหารและโภชนาการของสถาบันการแพทย์ยังระบุว่าการบริโภคโซเดียม (UL) ระดับที่ยอมรับได้เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิตสำหรับบุคคลที่มีอายุ 14 ปีขึ้นไปคือ 2.3 กรัมต่อวันซึ่งเทียบเท่ากับเกลือประมาณ 1 ช้อนชา (โซเดียมคลอไรด์)



การเลือกใช้เครื่องวัดความเค็ม enlightened


     เครื่องวัดความเค็มในปัจจุบันมีการพัฒนาให้สามารถแสดงค่าความเค็มแบบติจิตอลได้ มีความสะดวก รวดเร็วและความถูกต้องในการวัดมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งานเครื่องวัดความเค็มให้ตรงกับงานที่ทำได้ โดยเครื่องวัดความเค็มที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีหลักๆอยู่  3 แบบคือ

  1.   1. เครื่องวัดความเค็ม แบบกล้องส่อง เครื่องวัดความเค็มแบบนี้จะอาศัยแสงจากภายนอกในการวัด โดยการส่องดูและอานค่าตามสเกล
  1.   2. เครื่องวัดความเค็ม แบบปากกา เครื่องวัดความเค็มแบบนี้สามารถวัด ความเค็ม ได้โดยการนำหัววัดไปจุ่มในตัวอย่างที่ต้องการวัดและอ่านค่าเป็นแบบดิจิตอล

 

  1.   3. เครื่องวัดความเค็ม แบบดิจิตอล เครื่องวัดความเค็มแบบนี้มี แสง จากภายในในการวัด อ่านค่าได้สะดวกโดยแสดงเป็นตัวเลขแบบดิจิตอล


        โซเดียม (Sodium) เป็นสารอาหารที่ร่างกายใช้ควบคุมและรักษาสมดุลย์ของน้ำในร่างกาย รักษาสภาพความเป็นกรดด่าง โดยปกติเราได้รับโซเดียมจากอาหารอยู่แล้ว ปริมาณที่ร่างกายต้องการคือ ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน (เทียบเท่าเกลือ 1 ช้อนชา หรือน้ำปลา 4-5 ช้อนชา) แต่หากออกกำลังกายเสียเหงื่อมากจะต้องการโซเดียมมากขึ้นเพื่อชดเชย แม้จะมีความจำเป็นต่อร่างกาย แต่หากได้รับมากเกินไปจะมีผลเสียทำให้ความดันโลหิตสูง เสี่ยงต่อโรคหัวใจ เพิ่มการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะ ซึ่งส่งผลเสียต่อไตโดยตรงจนเกิดโรคไต ซึ่งปัจจุบันคนไทยมีพฤติกรรมการบริโภคเกลือหรือโซเดียมสูง 2-3 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการ


        เนื่องจากเรามักจะบริโภคโซเดียมเข้าไปโดยไม่รู้ตัว เพราะโซเดียมไม่ได้มีรสเค็มจัดอย่างเกลือเสมอไป แต่โซเดียมมีอยู่มากในเครื่องปรุงรส พวกผงชูรส ซุปก้อน น้ำปลา ซอส ซีอิ๊ว กะปิ ซึ่งพฤติกรรมคนไทยส่วนใหญ่มักติดการปรุงรสในอาหาร ส่วนขนมปังเบเกอรี่ก็มีโซเดียมจากผงฟูที่ใช้ทำขนมปัง พาย ซาลาเปา โดนัท ฯลฯ และในยุคปัจจุบันที่คนไทยมักเลือกทานอาหารที่สะดวกมากขึ้นกับอาหารสำเร็จรูปที่ผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่นอาหารแปรรูปต่างๆ จำพวก ไส้กรอก หมูยอ ลูกชิ้น อาหารกระป๋อง ซึ่งมีโซเดียมอยู่จากสารกันบูด และรวมถึงบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ที่จะมีอัตราปริมาณโซเดียมสูงมากแนวทางเพื่อลดปริมาณการบริโภคโซเดียม คือ ควรเลี่ยงผงชูรสและเครื่องปรุงรสต่างๆ ลดอาหารรสจัด (โดยเฉพาะเค็มจัด) รับประทานอาหารสด ลดการทานอาหารหมักดอง แช่อิ่ม อาหารแช่แข็ง เพื่อหลีกเลี่ยงโซเดียมที่มากับสารกันบูด หมั่นสังเกตปริมาณโซเดียมจากฉลากโภชนาการเพื่อจะได้พอประเมิณปริมาณที่เราบริโภคได้ หากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคโซเดียมไม่ให้เกินปริมาณที่จำเป็นได้ จะช่วยให้สุขภาพดีขึ้น ลดความเสี่ยงจะเป็นโรคภัยต่างๆ ได้เยอะเลยทีเดียว


     แนะนำวิธีการใช้อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร

     แหล่งที่มาหลักของการบริโภคโซเดียมของเรามาจากโซเดียมคลอไรด์ คณะกรรมการอาหารและโภชนาการของสถาบันการแพทย์ระบุว่าสำหรับบุคคลอายุ 9-50 ปี ระดับโซเดียม (AI) ที่เพียงพอคือ 1.5 กรัมต่อปริมาณโซเดียมที่ต้องการเป็นข้อความทั่วไป มีหลายตัวอย่างที่ต้องการปริมาณโซเดียมที่สูงขึ้น ตัวอย่างเช่นนักกีฬาที่มีเหงื่อออกมากจะสูญเสียโซเดียมในปริมาณที่สูงขึ้นเมื่อพวกเขาเหงื่อออกเมื่อเทียบกับคนที่มีวิถีชีวิตแบบอยู่ประจำ คณะกรรมการอาหารและโภชนาการของสถาบันการแพทย์ยังระบุว่าการบริโภคโซเดียม (UL) ระดับที่ยอมรับได้เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิตสำหรับบุคคลที่มีอายุ 14 ปีขึ้นไปคือ 2.3 กรัมต่อวันซึ่งเทียบเท่ากับเกลือประมาณ 1 ช้อนชา (โซเดียมคลอไรด์)

BACK